คำนามในภาษาอังกฤษมีมากมายหลากหลายประเภท ดังนี้
Common Noun, Proper Noun, Countable Noun, Uncountable Noun, Concrete Noun, Compound Noun, Collective Noun
Common Noun
เป็นคำนามทั่วไป ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ที่ไม่เจาะจง
เช่น cat dog school
อ่านแบบละเอียด พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Common noun
เป็นคำนามทั่วไป ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ที่ไม่เจาะจง
เช่น cat dog school
อ่านแบบละเอียด พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Common noun
Proper Noun
เป็นคำนามที่เป็นชื่อเฉพาะเจาะจง ของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ จะขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอ
เช่น Somchai Thailand Tony Japan
อ่านแบบละเอียด พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Proper noun
เป็นคำนามที่เป็นชื่อเฉพาะเจาะจง ของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ จะขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอ
เช่น Somchai Thailand Tony Japan
อ่านแบบละเอียด พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Proper noun
Countable Noun
เป็นคำนามนับได้ มีทั้งรูปเอกพจน์และพหูพจน์ จะต้องมีจำนวน หรือ a, an นำหน้า
เช่น doctor room
เป็นคำนามนับได้ มีทั้งรูปเอกพจน์และพหูพจน์ จะต้องมีจำนวน หรือ a, an นำหน้า
เช่น doctor room
Uncountable Noun
เป็นคำนานที่นับไม่ได้ อย่างของเหลว ของแข็งบางชนิด รวมถึงนามธรรมต่างๆ บางครั้งก็เรียกว่า Mass noun ก็ได้
เช่น work weather happiness
เป็นคำนานที่นับไม่ได้ อย่างของเหลว ของแข็งบางชนิด รวมถึงนามธรรมต่างๆ บางครั้งก็เรียกว่า Mass noun ก็ได้
เช่น work weather happiness
Concrete Noun
เป็นคำนามที่เรียกคน หรือ สิ่งของ ที่มีรูปร่างซึ่งสามารถสัมผัส เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น หรือ ลิ้มรสได้
เช่น money car paper
อ่านเพิ่มเติม พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Material noun
เป็นคำนามที่เรียกคน หรือ สิ่งของ ที่มีรูปร่างซึ่งสามารถสัมผัส เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น หรือ ลิ้มรสได้
เช่น money car paper
อ่านเพิ่มเติม พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Material noun
Abstract Noun
เป็นคำนามที่เรียกสิ่งที่ไม่มีรูปร่างอย่างอารมณ์ แนวคิด การกระทำ คุณสมบัติ หรือ สภาพ ซึ่งไม่สามารถสัมผัส ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น หรือ ลิ้มรสได้
เช่น love, education, hope
อ่านแบบละเอียด พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Abstract noun
เป็นคำนามที่เรียกสิ่งที่ไม่มีรูปร่างอย่างอารมณ์ แนวคิด การกระทำ คุณสมบัติ หรือ สภาพ ซึ่งไม่สามารถสัมผัส ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น หรือ ลิ้มรสได้
เช่น love, education, hope
อ่านแบบละเอียด พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Abstract noun
Compound Noun
เป็นคำนามสองคำขึ้นไป มารวมกันเพิ่อสร้างคำใหม่ สามารถเขียนเป็นคำเดียว เชื่อมด้วย – หรือ เขียนแยกกันก็ได้
เช่น rainfall sunglasses
เป็นคำนามสองคำขึ้นไป มารวมกันเพิ่อสร้างคำใหม่ สามารถเขียนเป็นคำเดียว เชื่อมด้วย – หรือ เขียนแยกกันก็ได้
เช่น rainfall sunglasses
Collective Noun
เป็นคำนามที่เป็นกลุ่มคำ หรือ หมู่คณะของคน สัตว์ หรือ สิ่งของ เวลาใข้มักตามด้วย of + คำนามพหูพจน์
ตัวอย่าง bunch of flower
เช่น stack crowd
นอกจากนี้ยังรวมถึงคำนามคำเดียว
เช่น family team class
อ่านแบบละเอียด พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Collective Noun
เป็นคำนามที่เป็นกลุ่มคำ หรือ หมู่คณะของคน สัตว์ หรือ สิ่งของ เวลาใข้มักตามด้วย of + คำนามพหูพจน์
ตัวอย่าง bunch of flower
เช่น stack crowd
นอกจากนี้ยังรวมถึงคำนามคำเดียว
เช่น family team class
อ่านแบบละเอียด พร้อมตัวอย่างประโยค คลิก >> Collective Noun
และอีกวิธีหนึ่ง ที่จะช่วยให้แยกคำนามออกได้ นั่นคือการสังเกต suffix เหล่านี้ ถ้ามี suffix เหล่านี้ลงท้ายแสดงว่าเป็น noun
-dom -ity -ety -ness -ance -ship -ence -cy -al -ure -lon -ment
เช่น freedom society sadness kindness anxiety
และการสังเกต Article (a, an, the)
ลำดับต่อไปเราก็ต้องมาแยกว่าคำนามนั้น เป็นคำนามนับได้(Countable) หรือคำนามที่นับไม่ได้(Uncountable) ถ้าคำนามนับได้หมายความว่าคำนามตัวนั้น จะมีสองรูปด้วยกัน คือ รูปเอกพจน์(Singular) โดยจะต้องมี a an หรือ the นำหน้า และ รูปพหูพจน์(Plural) แต่ถ้าคำนามนั้นนับไม่ได้ ให้ถือเป็นเอกพจน์เสมอ
-dom -ity -ety -ness -ance -ship -ence -cy -al -ure -lon -ment
เช่น freedom society sadness kindness anxiety
และการสังเกต Article (a, an, the)
ลำดับต่อไปเราก็ต้องมาแยกว่าคำนามนั้น เป็นคำนามนับได้(Countable) หรือคำนามที่นับไม่ได้(Uncountable) ถ้าคำนามนับได้หมายความว่าคำนามตัวนั้น จะมีสองรูปด้วยกัน คือ รูปเอกพจน์(Singular) โดยจะต้องมี a an หรือ the นำหน้า และ รูปพหูพจน์(Plural) แต่ถ้าคำนามนั้นนับไม่ได้ ให้ถือเป็นเอกพจน์เสมอ
การเปลี่ยนรูปจากเอกพจน์เป็นพหูพจน์ ทำได้หลายวิธี โดยการเติม s, es ที่ท้ายคำนาม เช่น books pens candies toys หรือบางที อาจมีการเปลี่ยนรูป เช่น child-children man-men mouse-mice
คำนามบางตัวจะมีรูปเดียวทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ เช่น fish sheep deer series species means aircraft salmon swine
การใช้ Countable Noun
Countable หรือ คำนามนับได้จะมีอยู่สองรูปคือเอกพจน์และพหูพจน์ ในกรณีเป็นเอกพจน์ ถ้าต้องการเน้น สามารถใส่ the ที่หน้าคำนามตัวนั้นได้ แต่ถ้าพูดถึงโดยทั่วไปไม่เจาะจง จะต้องใส่ a หรือ an นำหน้า
และในกรณีเป็นพหูพจน์ ถัาต้องการเน้น ให้ใส่ the ที่หน้าคำนามตัวนั้น
แต่ถ้าในส่วนของ Uncountable Noun หรือคำนามนับไม่ได้ ห้ามมีArticle ใดๆ ยกเว้นคำบอกปริมาณ เช่น some, any, little ตัวอย่างเช่น some sugar little money
Countable หรือ คำนามนับได้จะมีอยู่สองรูปคือเอกพจน์และพหูพจน์ ในกรณีเป็นเอกพจน์ ถ้าต้องการเน้น สามารถใส่ the ที่หน้าคำนามตัวนั้นได้ แต่ถ้าพูดถึงโดยทั่วไปไม่เจาะจง จะต้องใส่ a หรือ an นำหน้า
และในกรณีเป็นพหูพจน์ ถัาต้องการเน้น ให้ใส่ the ที่หน้าคำนามตัวนั้น
แต่ถ้าในส่วนของ Uncountable Noun หรือคำนามนับไม่ได้ ห้ามมีArticle ใดๆ ยกเว้นคำบอกปริมาณ เช่น some, any, little ตัวอย่างเช่น some sugar little money
และยังมีคำนามอีกสองประเภทที่ควรรู้จัก นั่นคือ Noun Phraseและ Noun Clause
Noun Phrase
แปลว่า นามวลี หมายถึง กลุ่มคำที่ประกอบขึ้นจากคำต่างๆตั้งแต่สองคำขึ้นไป โดยมี Noun หรือ Pronoun เป็นคำหลัก และมี Modifier(ส่วนขยาย) ประกอบเพื่อขยายคำหลักให้ได้ใจความมากขึ้น แต่ไม่สมบูรณ์อย่างประโยค
เช่น I have a very old house.
have(verb) a(article) very(adverb) old(adjective) house(noun)
แปลว่า นามวลี หมายถึง กลุ่มคำที่ประกอบขึ้นจากคำต่างๆตั้งแต่สองคำขึ้นไป โดยมี Noun หรือ Pronoun เป็นคำหลัก และมี Modifier(ส่วนขยาย) ประกอบเพื่อขยายคำหลักให้ได้ใจความมากขึ้น แต่ไม่สมบูรณ์อย่างประโยค
เช่น I have a very old house.
have(verb) a(article) very(adverb) old(adjective) house(noun)
Noun Clause
หรือ นามานุประโยค คืออนุประโยคที่ทำหน้าที่เหมือนเป็นคำนาม ซึ่งหมายความว่ามันจะเป็นประธานของกริยา กรรมของกริยา หรือกรรมของบุพบทก็ได้ มักขึ้นต้นด้วย what when where why which who whom whose how whether (หรือ if) that แล้วตามด้วย Subject + Predicate(เหมือนประโยคบอกเล่า)
เช่น I am wondering why the sky is blue.
I don’t know what I shoul do.
หรือ นามานุประโยค คืออนุประโยคที่ทำหน้าที่เหมือนเป็นคำนาม ซึ่งหมายความว่ามันจะเป็นประธานของกริยา กรรมของกริยา หรือกรรมของบุพบทก็ได้ มักขึ้นต้นด้วย what when where why which who whom whose how whether (หรือ if) that แล้วตามด้วย Subject + Predicate(เหมือนประโยคบอกเล่า)
เช่น I am wondering why the sky is blue.
I don’t know what I shoul do.
หน้าที่ของคำนาม
1.เป็นประธานของกริยาในประโยค เช่น May is in the kitchen.
2.เป็นกรรมของกริยาในประโยค(ทั้งกรรมตรงและกรรมรอง) เช่น May ate some meatballs
3.เป็นกรรมชองบุพบทในประโยค เช่น The company was founded by the owner’s grandfather.
4.เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยาเพื่อขยายให้ประธานได้ความชัดเจนขึ้น มักจะวางหลัง Verb to be หรือ become เช่น May is a student.
5.เป็นส่วนขยายกรรมเพื่อให้กรรมตัวนั้น มีเนื้อความกระจ่างขึ้น เช่น They elected Mr.John leader.
6.เป็นคำนามซ้อนคำนามที่อยู่ข้างหน้าได้ และระหว่างคำนามข้างหน้า กับคำนามที่ไปซ้อนตามหลังจะต้องใส่เครื่องหมาย comma (,) คั่นไว้ทุกครั้ง
1.เป็นประธานของกริยาในประโยค เช่น May is in the kitchen.
2.เป็นกรรมของกริยาในประโยค(ทั้งกรรมตรงและกรรมรอง) เช่น May ate some meatballs
3.เป็นกรรมชองบุพบทในประโยค เช่น The company was founded by the owner’s grandfather.
4.เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยาเพื่อขยายให้ประธานได้ความชัดเจนขึ้น มักจะวางหลัง Verb to be หรือ become เช่น May is a student.
5.เป็นส่วนขยายกรรมเพื่อให้กรรมตัวนั้น มีเนื้อความกระจ่างขึ้น เช่น They elected Mr.John leader.
6.เป็นคำนามซ้อนคำนามที่อยู่ข้างหน้าได้ และระหว่างคำนามข้างหน้า กับคำนามที่ไปซ้อนตามหลังจะต้องใส่เครื่องหมาย comma (,) คั่นไว้ทุกครั้ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น